2021-01-06 05:28
จำนวนครั้งที่อ่าน : 7,803
.ปรึกษาผู้รู้ด้านทำพระ ไปเล่าว่า อุบลมีตำนาน พระแก้วนพเก้าพบแล้ว 6 ยังไม่เจออีก 3 ท่านบอกว่าให้สร้างขึ้นใหม่ให้ครบ อุบลจะดี
ใช้เวลาสืบค้น เพื่อหาความจริงให้ชัด.เรื่องพระแก้วเมืองอุบล (พระแก้วนพเก่า) ความเป็นมา/ ประวัติ ที่คนอุบลต้องรู้
ก่อนอื่น ต้องขอบคุณ น้าไกด์อุบล ผู้ซึ่งจุดประกาย รวบรวมข้อมูลให้ ผม ได้เริ่มต้นสืบค้น จาก จุดนี้ น้าไกด์ ได้รวบรวมข้อมูลว่า พระแก้วของอุบลนั้น มี 6 องค์ สำหรับผม ได้ยิน มา ว่า มี เก้าองค์ จากท่านสมบัติ สุวรรณลีลา รองปรธานหอการค้าในอดีต ( ร้านหงษ์ฟ้า)
พระแก้วบุษราคัม วัดศรีอุบลรัตนาราม (พระอารามหลวง) เดิมชื่อวัดศรีทอง เป็นวัดธรรมยุติกนิกาย
ตั้งอยู่ถนนอุปราช ข้างศาลากลางจังหวัดอุบลราชธานี วัดนี้สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๓๙๘ เป็นปีที่ ๕ ในรัชกาลที่ ๔
แห่งราชวงศ์จักรี พระแก้วบุษราคัม เป็นพระพุทธรูปบูชา ปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง ๓ นิ้ว สูงประมาณ
๕ นิ้ว แกะสลักจากแก้วบุษราคัม (แก้วมณีสีเหลือง) ทึบทั้งแท่น มีสังวาลประดับที่องค์พระ ฐานหุ้มด้วย
ทองค า เป็นพระพุทธรูปโบราณ นานนับพันปี ฝีมือช่างสกุลเชียงแสน ในสมัยการปกครองระบบสม
บูรณาญาสิทธิราช มีการประกอบพิธีถือน้ าพิพัฒน์สัตยา ได้อัญเชิญพระแก้วบุษราคัมเป็นประธานในการ
ประกอบพิธีอันศักดิ์สิทธิ์นี้
คตินิยมการไหว้ขอพร : มีความร่มเย็นเป็นสุข ครอบครัวอบอุ่นสามัคคี
ข้อมูล จาก สำนักวิทยบริการ ม.อุบล
พระแก้วไพฑูรย์ วัดหลวง อ าเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี เป็นแก้วเกิดจากหินธรรมชาติมีอายุ
หลายล้านปีมาแล้ว ใครเป็นผู้แกะหินเป็นพระพุทธรูปนั้นไม่มีใครทราบ แต่เป็นพระพุทธรูปที่อยู่ในการ
ปกครองของนายเมืองอุบลมานาน แต่บรรพบุรุษของพระปทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าค าผง) ได้ถวายให้เป็น
สมบัติของวัดหลวงคู่กับพระแก้วบุษราคัม เมื่อเจ้านายทางกรุงเทพฯ จะบังคับเอาพระแก้วทั้งสององค์ไปเป็น
ของส่วนตัว จึงได้พากันเอาพระแก้วทั้งสององค์แยกกันไปซ่อนไว้โดยมิดชิด ไม่ยอมแพร่งพรายให้เป็นที่
รู้จักของคนทั่วไป
แต่ต่อมาเมื่อสร้างวัดศรีอุบลรัตนาราม (วัดศรีทอง) โดยเจ้าอุปราชโทบิดาของพระอุบลเดชประชารักษ์ (เสือ ณ อุบล) จึงไดเชิญเอาพระแก้วทั้งสององค์ออกจากที่ซ่อน ส าหรับพระแก้วบุษราคัมนั้นได้ถวาย
แด่พระเดชพระคุณพระเทวธรรมี (ยาท้าวมาว) ซึ่งเป็นเจ้าอาวาสองค์แรกของวัดศรีทอง (วัดศรีอุบลรัตนา
ราม) และเป็นลัทธิวิหารของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ข้าราชการที่มาจากกรุงเทพฯ
คงจะมีความเกรงใจไม่กล้าที่จะขอเอาพระแก้วบุษราคัมไปจากเมืองอุบล ส่วนพระแก้วไพฑูรย์นั้น ทายาทของ
เจ้านายพื้นเมืองอุบลเก็บไว้ให้ ภายหลังจึงน ามามอบให้เป็นสมบัติของวัดหลวงตามเดิมดังปรากฏอยู่ทุกวันนี้
นับว่าพระแก้วไพฑูรย์องค์นี้เป็นสมบัติของวัดหลวงและของเมืองอุบลราชธานีมาแต่โบราณโดยแท้
บันทึกไว้โดย นายบ าเพ็ญ ณ อุบล แก้วไพฑูรย์ เป็นหนึ่งในแก้วอันเป็นรัตนชาติ หากจะยกองค์นั้นขึ้นส่องจะเห็น
เป็นคล้ายสายฝนหยาดลงมาจากฟ้าอันเป็นนิมิตหมายแห่งความอุดมสมบูรณ์ ฝนตกตามฤดูกาล
ข้อมูล จาก สำนักวิทยบริการ ม.อุบล
องค์นี้เป็นพระปางสมาธิสูง ๑๗ ซ.ม. ท าด้วยแก้วผลึกสีขาวท่านผู้รู้ คือ หม่อมเจ้าภัทรดิส ดิศสกุล
สันนิษฐานว่า ดูจากพุทธศิลป์แล้วเป็นพระอยู่ในยุครัตนโกสินทร์ตอนต้นๆ
เจ้าพระคุณสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ติสฺโส อ้วน) ได้ควบคุมการก่อสร้างพระอุโบสถวัดสุปัฎนารามแต่
พ.ศ. ๒๔๖๐ –๒๔๗๓
เจ้าพระคุณสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ ได้รวบรวมพระพุทธธูปเก่าแก่ไนปางต่างๆ จากหลายที่หลายแห่ง เช่น พระพุทธรูปหินสมัยลพบุรี ๓ องค์ และสิ่งอื่นจ านวนมาก โดยเฉพาะพระแก้วขาวองค์นี้เป็นพระประจ าองค์ท่าน ท่านได้อย่างไร ไม่ปรากฏชัดในช่วงปี พ.ศ. ๒๔๘๕ เจ้าพระคุณคุณสมเด็จ
พระมหาวีรวงศ์ (ติสฺโส อ้วน) ได้ขึ้นมาจ าพรรษาที่วัดสุปัฎนาราม ได้มอบพระแก้วขาวองค์ศักดิ์สิทธิ์องค์นี้
ให้เป็นสมบัติอันล้ าค่าของวัดสุปัฎนาราม ผู้รับมอบ คือ พระครูปลัดพิพัฒนวิริยาจารย์ (ณาณ ญาณชาโล)
และมอบนโยบาย คือให้จัดกิจกรรมของคณะสงฆ์ขึ้น เมื่อท่านได้รับมอบพระแก้วขาวและนโยบายแล้ว ท่าน
ก็ได้วางหลักเกณฑ์ให้คณะสงฆ์ท ากิจกรรมขึ้นเพื่อเป็นการสนองพระเดชพระคุณ ของเจ้าพระคุณสมเด็จ
พระมหาวีรวงศ์
ดังนั้น จึงได้มีกิจกรรมของคณะสงฆ์ (ธรรมยุต) ของจังหวัดอุบลราชธานีขึ้นมา เพื่อได้คณะสงฆ์ได้ท า
กิจกรรมร่วมกัน เช่นว่า
* อัญเชิญพระแก้วขาววัดสุปัฎนารามลงมาให้สาธุชนสรงน้ าขอพรปีใหม่สากล ๓๑ ธันวาคม ถึง ๒
มกราคม ของทุกๆ ปี
ข้อมูลจ าเพาะของ “ พระแก้วขาวเพชรน้ าค้าง ” เนื้อองค์เป็นแก้วผลึกสีขาวใส ซึ่งความใสขององค์
พระประดุจน้ าค้างยามเช้าเปล่งแสงแวววาวในตัวเองดุจประกาย เพชร จึงได้ชื่อว่า “ พระแก้วเพชรน้ าค้าง ”
ฉลององค์ด้วยทองค าเป็นบางส่วน เพื่อความสวยงามและทรงคุณค่า
พระรัตนมงคลมุนี อดีตอาวาสวัดสุปัฎนาราม องค์ก่อนนี้
สันนิษฐานว่าหลายฝ่ายทางโบราณคดี และ
พุทธลักษณะขององค์พระ คาดว่า “ พระแก้วขาวเพชรน้ าค้าง ” น่าจะเป็นรุ่นเดียวกับ “ พระแก้วบุษราคัม ”
โดยยึดหลักจากต านานการมาตั้งถิ่นฐานของเมืองอุบลฯ เมื่อ 200 ปี เศษมาแล้ว บรรพบุรุษผู้มาสร้างเมืองได้
อันเชิญมาเพื่อเป็นสิริมงคลในการเดินทางอันยาว ไกล และเป็นขวัญก าลังใจในการสู้รบกับศัตรูผู้รุกราน
จนสร้างบ้านเมืองได้เป็นหลัก แหล่งเท่าทุกวันนี้
พระแก้วโกเมน วัดมณีวนาราม อ าเภออเภมือง จังหวัดอุบลราชธานี เภป็นพระพุทธรูปเภก่าแก่
ศักดิ์สิทธิ์ และมีค่ายิ่งคู่เภมืองอุบล ที่ส าคัญอีกองค์หนึ่ง เภป็นแก้วสีน้ าหมอก (สีม่วง)
นับว่าเภป็นพระพุทธรูปเภก่าแก่พร้อมกับพระแก้วบุษราคัมที่ประดิษฐานอยู่ที่วัดศรีอุบลรัตนาราม แต่
พระแก้วโกเภมนทางวัดได้เภก็บรักษาไว้เภป็นอย่างดีไม่ได้น ามาให้ประชาชนได้เภห็น และกราบไหว้ สักการบูชา
ไม่ได้ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบ
จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๕๔๒ พระครูปลัดสาธุวัฒน์ (แสงนาคเภสโน ป.ธ.๗) ได้มาเภป็นเภจ้าอาวาสวัด
มณีวนารามและเภจ้าคณะอ าเภออเภมืองอุบลราชธานี จึงได้ปรารอชักชวนญาติโยมชาววัด อัญเภชิญพระแก้ว
โกเภมน มาประดิษฐานให้ประชาชนได้สรงน้ า กราบไหว้ สักการบูชา ท าให้เภป็นที่เภจริญศรัทธาเภป็นอย่างดี จึง
ก าหนดให้จัดงานในวันวิสาขบูชาถือปฏิบัติมาเภป็นประจ าทุกปี
วัดมณีวนาราม (ป่าน้อย) ตั้งอยู่ชายดงอู่ผึ้งติดกับวัดทุ่งศรีเภมือง ด้านทิศใต้มีถนนพโลรังฤทธิ์กั้น
ระหว่างกลาง บางที่เภรียกว่า “วัดป่าน้อยมณีวัน” สมเภด็จมหาวีระวงศ์ (อ้วน ติสฺโส) เภปลี่ยนชื่อใหม่ว่า
“วัดมณีวนาราม” สันนิษฐานว่า พระอุปฮาด (ก่ า) กับทิศแก้ว เภป็นผู้สร้าง เภมื่อ พ.ศ. ใดไม่ปรากฏ
ในยุคต้นของเภมืองอุบล เภป็นศูนย์กลางการศึกษาและการบริหารคณะสงฆ์ หลังจากที่พระมหาราชครู
ท่านหอแก้ว (วัดหลวง) มรณอาพแล้ว รัชกาลที่ ๓ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเภกล้าฯ ให้พระอริยวงศาจารย์ญาณ
วิมลอุบลสังฆปราโมกข์ (สุ้ย) เภปรียญ ๓ ประโยค นิสิตวัดสระเภกศ กรุงเภทพมหานคร รับพระราชทานสัญญา
บัตรเภป็นพระราชาคณะผู้ใหญ่มาเภป็นหลักค าเภมืองอุบล สถิต ณ วัดมณีวนาราม
ในยุคนี้ พุทธศาสนิกชนเภรียกนามท่านว่า “ท่านเภจ้า” ท่านเภจ้าได้สนใจการศึกษาทั่งคันหธุระและ
วิปัสสนาธุระ เภป็นศูนย์รวมการปกครองคณะสงฆ์และช่วยเภหลือการปกครองคณะสงฆ์และช่วยเภหลือการ
ปกครองฝ่ายบ้านเภมืองด้วย
ในยุคต่อมาการศึกษาของคณะสงฆ์ก็ยังสืบต่อกันมาโดยไม่ขาดสาย มีการจัดตั้งศาสนาศึกษาขึ้น มี
ชื่อส านักเภรียนของวัดนี้ว่า “โรงเภรียนบาลีวิจิตรสังฆานุกูล” ให้พระอิกษุและสามเภณรได้ศึกษาพระปริยัติธรรม
ทั้งนักธรรมและบาลีปีหนึ่งๆ จะมีพระอิกษุสามเภณรสอบได้เภป็นจ านวนมาก
คณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย น าโดยพระธรรมเภสนานี (กิ่ง มหปุผโล) ได้ก่อตั้งโรงเภรียนอุบลวิทยากรขึ้น
เภพื่อให้พระอิกษุสามเภณร คฤหัสถ์ (ชาย) ได้ศึกษาเภล่าเภรียนความรู้ด้านสามัญศึกษา
ปัจจุบันได้จัดการเภรียนการสอน ทั้ง ๓ ระดับ คือ ก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา และระดับ
มัธยมศึกษา นับว่าวัดมณีวนารามเภป็นวัดเภก่าแก่คู่บ้านคู่เภมืองอุบล เภป็นแหล่งการศึกษา ระเภบียบประเภพณี
อันดีงาม ปลูกฝังอบรมกุลบุตรให้เภป็นพลเภมืองดีของชาติอีกวัดหนึ่ง
พระแก้วนิลกาฬ วัดเลียบ ได้ถูกค้นพบโดยบังเอิญบนฝาเพดานกุฎิสุขสวัสดิ์มงคล กุฎิหลังเก่าของวัดเลียบ จังหวัดอุบลราชธานี เมื่อปี พ.ศ. 2545 หรือสิบกว่าปีมานี้เอง โดยพระครูอุบลคณาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดเลียบปัจจุบัน ซึ่งเมื่อตอนที่ท่านพบนั้น พระแก้วนิลกาฬถูกบรรจุอยู่ในกล่องลายไม้สักโบราณร่วมกับองค์พระพุทธรูปบุเงินอีก 2 องค์ (ซึ่งในภายหลังก็ได้ให้มีการจัดทำเครื่องทรงชฎา มงกุฎทองคำ ซึ่งทำจากพลอยแท้ ทองคำแท้ ถวาย) และเพิ่งมีการเปิดให้พุทธศาสนิกชนได้สักการะและสรงน้ำสงกรานต์ เมื่อปี. พ.ศ. 2549
พระแก้วมรกตองค์ วัดเลียบ พระครูอุบลคณาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดเลียบ บอกว่ามีโยมมาถวายไว้ พุทธลักษณะคล้ายพระแก้วโกเมน วัดป่าน้อย
มื่อสืบค้น ย้อนหลังไป พบว่า พระที่ สร้างจากอัญมณี รัตนชาตินั้น นิยมใน แถบ ล้านนา และ ล้านช้าง ซึงบรรพบุรุษ ของชาวอุบล อพยบมาจาก เวียงจันทร์ ซึ่งจะได้รับอธิพล วัฒนาธรรมมาจาก ล้านนา ล้านช้าง ที่ เจ้านาย มักจะสร้างพระ จากรัตนชาติ ไว้ เป็นมงคลแก่ตัวเอง
ผม ไปเจอ แหล่งที่ทำพระจากหินสี คือที่กรุ ฮอด แทบเชียงใหม่ ทำให้ เกิดไอเดีย ว่า เราสามารถสนชร้างพระ จาก อัญมณีได้ ( ราคาสุงมาก) หรือ สร้าจากหินสี ก็ น่าจะได้ เพราะ เลือกสี ตามที่ต้องการได้ เลย..........