2020-02-13 15:58
จำนวนครั้งที่อ่าน : 340
30ปี ที่ผ่าน อุบล ต้องเป็นเมืองศูนย์กลาง เราต้องมีทางออกทะเล นั่นคือแนวคิดของ หอการค้ายุคแรกๆ ในขณะนั้น หอการค้าพยายามด้วยการสำรวจเส้นทาง แสวงหาโอกาส ยอมลงทุนเอง เพื่อหาคำตอบสนับสนุน แนวคิดที่ว่า อนาคตอุบล ไม่ใช่เมืองชายแดน และเป็นเมืองศูนย์กลาง
30ปี ที่ผ่าน อุบล ต้องเป็นเมืองศูนย์กลาง เราต้องมีทางออกทะเล นั่นคือแนวคิดของ หอการค้ายุคแรกๆ ในขณะนั้น หอการค้าพยายามด้วยการสำรวจเส้นทาง แสวงหาโอกาส ยอมลงทุนเอง เพื่อหาคำตอบสนับสนุน แนวคิดที่ว่า อนาคตอุบล ไม่ใช่เมืองชายแดน และเป็นเมืองศูนย์กลาง จึงเกิด แนวคิด เรื่องวงกลมเศรษฐกิจขึ้นเป็นครั้งแรก และ ต่อว่าพบว่า เป็นจริง
และ หอการค้าก็ เชื่อว่าใน อนาคต ทะเลจีนใต้ จะเชื่อมกับ อันดามัน ด้วยเส้นทางคู่ขนาน กับ East-West Corridor ภายใต้เชื่อที่ เรา กำหนดตั้งขึ้นว่า para ewec เป็นเส้นทางอิสานตอนล่าง ตามเส้นทาง 24 ปลายทาที่ คิดและเสนอ คือ ทวาย ประเทศพม่า และ ยังสามมารถ เชื่อมโยงกับ แหลมฉบัง ใน จุดแยกที่ อำเภอนางรอง ตัดลง จันทบุรี ระยอง ตราด ถือ เป็นยุคที่สองของการ แสวงหารโอกาส และ ช่องทาง
ต่อมา หอการค้า พยายามผลักดัน การสร้างสะพาน ข้ามแม่น้ำโขง ที่จังหวัดอุบล เพราะ เชื่อว่า เส้นทางในการขนส่งจะสั้น เป็นประโยชน์ ต่อภูมิภาคอินโนจีนตอนใต้ ( ไทย ลาว กัมพูชา และ เวียตนาม) ผลคือ มีมติให้สร้างสะพานข้ามดขงแห่งที่ 6 ที่ อำเภอนาตาล จังหวัดอุบลราชานี ตรงข้าม เมื่อง ละครเพ็ง แขวงสาละวัน ประเทศลาว ซึ่งชัดเจน ว่า เมืองสร้างสะพานเสร็จ การเดินทางไปทะเลจีนใต้ ที่เวียตนาม เส้นนี้ จะสั้นมาก คือ อำเภอนาตาล ผ่านสาละวัน ออกชายแดน ด่านละไล( ลาว เวียดนาม)
จึงขอเรียนเป็นแนวคิดว่า เส้นทางเศรษฐกิจ เส้นนี้ จะนำพาความเจริญมาให้ อุบล และ อิสานใต้ ข้อูล ตัวเลข ระยะทาง เขียนให้ ข้มุลโดย โยธาแขวงสาละวัน ว่า จาก ชายแดนที่เมือง ละครเพ็ง ถึง แขวงสาละวัน 140 กิโลเมตร และ จาก แขวงสาละวัน ไปชายแดน ลาว เวียตนาม ( ละไล) ระยะทาง 147 กิโลเมตร และ จาก
อย่างไรก็ ตาม การเป็นเมืองคุ่มิตร คุ่ค้า จำเป็นอย่างมากที่ ต้องแบ่งปันบทบาทหน้าที่ แนวคิดนี้ เวียตนามเสนอ ขอเป็นเมืองคุ่ค้า สามเมือง ของไทย –ลว-เวียตนาม ซึ่งก็ หมายถึง อุบล สาละวัน และหัวเมืองหลักเวียตนาม คือ กวางตรี เว้ ดานัง
คำถามที่ ท่านเจ้าแขวงสาละวันฝากให้คณะหอการค้า ได้ช่วยคิดหาคำตอบ ว่า เมื่อเกิดเส้นทาง สะพาน แล้ว ลาวจะได้อะไร เพราะ ต้นทางคือ ไทย ปลายทางคือ เวียดนาม ซึ่งผม ก็ เชื่อ ภาคขนส่งสินค้า (โลจีสติก) ลาวน่าจะเป็นผุ้ทำหน้าที่ได้ดีที่สุด ( เป็นผุ้รับผิดชอบ ตัวกลาง สนับสนุน ที่ เหมาะสมที่สุด สาละวันตองเป็น เมืองแวะพัก เมือประสานงาน ติดต่อค้าขาย ดังนั้นเมืองสาละวัน จึงควรถูกออกแบบไปในทิศทางนี้
เส้นทางเศรษฐกิจใหม่ ( อุบล-สาละวัน -3 ท่าเรือทะเลจีนใต้) อาจต้องเร่ง ทำให้ เป็นจริงทันต่อ สภาวะ เศราฐกิจ ที่ ถดถอย เราต้องแสวงหารโอกาส และลงมือ ให้ทันเวลา